View : 1235 Download: 0

태국인 한국어 학습자의 ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’ 습득 연구

Title
태국인 한국어 학습자의 ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’ 습득 연구
Other Titles
A Study on the Acquisition of ‘-gess-’ and ‘-(eu)l geosi-’ of Thai Learners of Korean
Authors
Sanguansin, Suwatjana
Issue Date
2018
Department/Major
국제대학원 한국학과
Publisher
이화여자대학교 국제대학원
Degree
Master
Advisors
박선희
Abstract
본 연구는 ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’의 의미 기능을 태국인 학습자들이 어떻게 인식하고 있는지, 적절하게 사용할 수 있는지, 그리고 이러한 인식과 사용에 숙달도에 따라 차이가 있는지 습득 양상을 관찰하는 데 목적이 있다. ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’의 의미는 비슷해 보이나 상당한 차이점을 가지고 있으므로 한국어 학습자가 이를 습득하는 데 어려움을 겪을 수밖에 없다. Ⅰ장에서는 연구 목적과 연구 필요성을 밝힌 후 한국어 ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’ 다른 언어와 대조분석과 ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’의 습득에 관한 선행 연구들을 검토하여 연구 문제를 제시하였다. 본 연구의 연구 문제는 태국인 한국어 학습자는 태국인 한국어 학습자는 ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’에 대한 지식과 사용에 있어서 숙달도에 따라 어떠한 차이를 보이는가이다. Ⅱ장에서는 ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’의 의미적 특성 차이와 통사적 특성 차이로 나누어서 이론적 배경을 고찰하였다. 본고에서는 ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’의 의미 기능을 ‘-겠-’의 ‘의지’와 ‘추측’으로, ‘-(으)ㄹ 것이-’는 ‘미래’와 ‘추측’으로 정하였다. 이에 따라 ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’와 대응하는 태국어와 대조‧비교하였다. Ⅲ장에서는 본고의 연구 방법을 상세하게 기술하였다. 이론적 배경을 통해 정리한 ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’의 의미 기능과 특성을 보인 항목들을 포함한 수용성 판단 과제와 준 생산 과제를 개발하였다. 실험은 한국어 모어화자 30명과 태국에 있는 대학교에서 6개월 이상 한국어를 배운 태국인 한국어 학습자 60명을 연구 대상으로 하여 진행하였다. 태국인 한국어 학습자는 숙달도 검사 결과에 따라 30명의 상위 집단과 30 명의 하위 집단으로 구분하였다. Ⅳ장에서는 한국어 모어화자와 태국인 상‧하위 학습자의 수용성 판단 과제와 준 생산 과제에 대한 평균 점수를 비교한 결과를 ‘-겠-’에 관한 지식, ‘-겠-’의 사용, ‘-(으)ㄹ 것이-’에 관한 지식, 그리고 ‘-(으)ㄹ 것이-’의 사용으로 나누어 기술하였다. 첫째, 학습자 집단은 ‘-겠-’에 관한 인식이 모어화자의 수준에 근접하지 못했다. 또한, 숙달도에 따른 차이가 발견되지 않았으며 ‘의지’와 ‘추측’ 의미별로 살펴본 결과도 숙달도 변인이 존재하지 않았다. 둘째, 전체적인 ‘-겠-’의 사용에 있어 모어화자와 각 학습자 집단 간의 차이가 나타났으나 ‘-겠-’의 의미 기능별로 사용 양상이 다르게 나타났다. ‘의지’의미에서는 모어화자와 학습자 집단의 사용에 차이를 보였으며, 숙달도에 따른 차이가 나타나지 않았다. 그러나 ‘-겠-’의 추측에서 상위 집단과 모어화자의 사용에 유의한 차이가 나타나지 않았고 하위 집단의 사용과 비교해도 유의한 차이가 나타나지 않았다. 이는 상위 집단 내에서도 모어화자 수준에 근접해가는 발달과정을 보이는 학습자가 있는 반면 습득이 되지 않은 학습자도 있음을 보여준다. 셋째, ‘-(으)ㄹ 것이-’에 대한 지식에 모어화자와 학습자 집단의 인식에 차이가 나타났으며, 학습자의 숙달도에 따른 차이도 보였다. 더 세부적으로 살펴볼 때 ‘미래’와 ‘추측’ 모든 의미 기능에서 숙달도 변인을 보였다. 넷째, ‘-(으)ㄹ 것이-’의 사용에 모어화자와 학습자 집단의 인식은 유의한 차이를 보였으나 학습의 숙달도가 증가해도 ‘-(으)ㄹ 것이-’의 사용에 큰 차이를 보이지 않았다. 이는 ‘미래’와 ‘추측’ 의미별로 살펴본 결과도 숙달도가 변인이 나타나지 않았다. 이는 태국인 한국어 학습자는 ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’의 의미 기능을 일부만 습득한 것으로 관찰되었다. 또한, 두 과제의 결과를 살펴보면 학습자의 해당 표현에 관한 지식과 사용 능력이 관계가 없는 것을 알 수도 있다. 마지막으로 Ⅴ장에서 연구의 결과를 정리한 다음 본 연구의 의의와 한계를 기술하였다. 본 연구는 태국인 한국어 학습자의 ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’의 습득을 실험을 통해 관찰한 결과를 밝힌 최초의 연구로서 의의가 있다. 본 연구는 태국인 한국어 학습자 대상 ‘-겠-’과 ‘-(으)ㄹ 것이-’의 통사적 특성 습득 연구의 시발점이 되기를 기대한다.;งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการสารวจว่าผู้เรียนภาษาเกาหลีชาวไทยรับไวยากรณ์เกาหลี ‘-겠-’และ‘-(으)ㄹ 것이-’อย่างไร และการรับรู้เข้าใจกับการใช้ไวยากรณ์ทั้งสองนี้มีความแตกต่างกันออกไปตามระดับความสามารถทางภาษาเกาหลีของผู้เรียนหรือไม่ ‘-겠-’และ‘-(으)ㄹ 것이-’ เป็นไวยากรณ์ที่ดูเหมือนมีความหมายที่คล้ายคลึงกัน แต่ในความเป็นจริงแล้วไวยากรณ์ทั้งสองมีความแตกต่างกันทางหน้าที่เชิงอรรถศาสตร์ที่ขึ้นอยู่กับบริบททางภาษา ด้วยเหตุนี้จึงยากต่อการรับรู้และการนาไปใช้ของผู้เรียนภาษาเกาหลี บทที่ ๑ นาเสนอจุดประสงค์และความจาเป็นของงานวิจัยฉบับนี้ รวมถึงพิจารณาผลงานวิจัยที่ผ่านมาที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบระหว่าง‘-겠-’และ‘-(으)ㄹ 것이-’กับสานวนที่คล้ายกันในภาษาอื่น และการรับ ‘-겠-’และ‘-(으)ㄹ 것이-’ของผู้เรียนภาษาเกาหลี ในบทนี้ยังกล่าวถึงคาถามวิจัยของงานวิจัยนี้ เนื้อความว่า ความรู้และการใช้‘-겠-’และ‘-(으)ㄹ 것이-’ ของผู้เรียนภาษาเกาหลีชาวไทยมีความแตกต่างกันตามความสามารถทางภาษาของผู้เรียนหรือไม่ บทที่ ๒ ศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย โดยแบ่งออกเป็นลักษณะเฉพาะทางอรรถศาสตร์และลักษณะเฉพาะทางวากยสัมพันธ์ของ‘-겠-’และ‘-(으)ㄹ 것이-’ จากทฤษฎีที่เรียบเรียง งานวิจัยฉบับนี้ได้แบ่งหน้าที่ทางอรรถศาสตร์ของ ‘-겠-’ออกเป็น ‘ความตั้งใจ’ และ ‘การคาดเดา’ และของ‘-(으)ㄹ 것이-’ เป็น ‘อนาคต’ และ ‘การคาดเดา’ ในบทนี้ยังเปรียบเทียบ‘-겠-’และ‘-(으)ㄹ 것이-’กับคากริยาช่วย(Auxiliary verbs)ในภาษาไทยที่มีความหมายสอดคล้องกัน บทที่ ๓ อธิบายระเบียบวิธีวิจัยของงานวิจัยฉบับนี้ งานวิจัยนี้ได้จัดทาแบบทดสอบประเมินการยอมรับประโยค(Acceptability judgment task)และแบบทดสอบกึ่งการสร้างประโยค ซึ่งประกอบไปด้วยเนื้อหาที่สะท้อนถึงหน้าที่เชิงอรรถศาสตร์และลักษณะเฉพาะของ‘-겠-’และ‘-(으)ㄹ 것이-’ การทดลองประกอบไปด้วยกลุ่มตัวอย่างที่แบ่งเป็นเจ้าของภาษา ๓๐ คน และผู้เรียนภาษาเกาหลีชาวไทยที่ศึกษาภาษาเกาหลีในมหาวิทยาลัยไทยมาแล้ว ๖ เดือนขึ้นไป ๖๐ คน ผู้เรียนชาวไทยยังถูกแบ่งออกเป็นกลุ่มที่มีความสามารถระดับสูงและกลุ่มที่มีความสามารถระดับต่าตามทักษะภาษาเกาหลี บทที่ ๔ บรรยายผลการทดลองโดยเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยจากแบบทดสอบประเมินการยอมรับประโยคและแบบทดสอบกึ่งการสร้างประโยคของกลุ่มเจ้าของภาษาและกลุ่มผู้เรียนชาวไทยที่มีความสามารถสูงและต่า ผลการทดลองแบ่งออกเป็นความรู้เกี่ยวกับ‘-겠-’ การใช้‘-겠-’ ความรู้เกี่ยวกับ‘-(으)ㄹ 것이-’ และการใช้‘-(으)ㄹ 것이-’ ของกลุ่มตัวอย่าง ประการแรก ในด้านความรู้เกี่ยวกับ‘-겠-’ ผู้เรียนชาวไทยไม่สามารถเข้าใจ‘-겠-’ ในระดับของเจ้าของภาษาได้ และยังไม่มีความแตกต่างทางสถิติระหว่างกลุ่มผู้เรียนทั้งสองกลุ่ม ผลการทดลองยังแสดงให้เห็นว่าความสามารถทางภาษาไม่ได้เป็นปัจจัยต่อผลคะแนนของกลุ่มผู้เรียนทั้งในหน้าที่‘ความตั้งใจ’และ‘การคาดเดา’ ประการที่สอง เมื่อพิจารณาการใช้‘-겠-’โดยรวมจะเห็นความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกลุ่มเจ้าของภาษาและกลุ่มผู้เรียน แต่ผลการทดลองนั้นต่างออกไปเมื่อพิจารณาตามหน้าที่ทางอรรถศาสตร์ของ‘-겠-’ สาหรับในหน้าที่‘ความตั้งใจ’ มีความแตกต่างในการใช้ระหว่างกลุ่มเจ้าของภาษาและกลุ่มผู้เรียนแต่ไม่มีปัจจัยทางด้านความสามารถทางภาษาในการใช้ แต่ในหน้าที่‘การคาดเดา’ กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถสูงสามารถแตะระดับเจ้าของภาษาได้แต่ก็ไม่มีความต่างทางสถิติระหว่างกลุ่มความสามารถสูงและ กลุ่มความสามารถต่าเช่นกัน ผลนี้แสดงให้เห็นว่าผู้เรียนที่มีความสามารถสูงส่วนหนึ่งกาลังอยู่ในขั้นตอนการพัฒนาไปสู่ระดับของเจ้าของภาษา และอีกส่วนหนึ่งยังไม่สามารถพัฒนาทักษะได้ ประการที่สาม ในแง่ของความรู้เกี่ยวกับ‘-(으)ㄹ 것이-’ ผู้เรียนไม่สามารถพัฒนาความรู้ไปถึงระดับเจ้าของภาษาได้แต่ก็มีความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติระหว่างกลุ่มผู้เรียนทั้งสองกลุ่ม ความสามารถทางภาษายังเป็นปัจจัยต่อผลคะแนนทั้งในหน้าที่‘อนาคต’และ‘การคาดเดา’ ประการสุดท้าย เกี่ยวกับการใช้‘-(으)ㄹ 것이-’ของกลุ่มตัวอย่าง พบความแตกต่างทางสถิติระหว่างกลุ่มเจ้าของภาษาและกลุ่มผู้เรียน แต่ไม่พบความแตกต่างระหว่างสองกลุ่ม เช่นเดียวกัน เมื่อพิจารณาผลคะแนนในหน้าที่ทางอรรถศาสตร์ ‘อนาคต’และ‘การคาดเดา’ ก็ไม่พบปัจจัยทางด้านความสามารถทางภาษา ด้วยเหตุนี้ผลการทดลองทั้งหมดจึงแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนภาษาเกาหลีชาวไทยพัฒนาทักษะเกี่ยวกับ‘-겠-’และ‘-(으)ㄹ 것이-’ เพียงบางส่วนของหน้าที่ทางอรรถศาสตร์เท่านั้น นอกจากนั้นผลที่ต่างกันของแบบทดสอบทั้งสองประเภทยังพิสูจน์ให้เห็นว่าความรู้เกี่ยวกับ‘-겠-’และ‘-(으)ㄹ 것이-’ และการนา‘-겠-’และ‘-(으)ㄹ 것이-’ ไปใช้ของผู้เรียนภาษาเกาหลีชาวไทยนั้นไม่มีความเกี่ยวข้องกัน บทที่ ๕ กล่าวถึงข้อสรุปของผลการวิจัยครั้งนี้ ความสาคัญของงานวิจัยฉบับนี้อยู่ที่เป็นงานวิจัยฉบับแรกที่ศึกษาการรับ‘-겠-’และ‘-(으)ㄹ 것이-’ของผู้เรียนภาษาเกาหลีชาวไทย และผู้วิจัยยังหวังว่างานวิจัยต่อไปจะพิจารณาถึงเงื่อนไขทางวากยสัมพันธ์ของ‘-겠-’และ‘-(으)ㄹ 것이-’ โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เรียนภาษาเกาหลีระดับสูงชาวไทย ซึ่งทั้งสองประการมิได้ปรากฏอยู่ในงานวิจัยฉบับนี้;The purpose of the study is to explore how Thai learners of Korean acquire Korean grammar ‘-gess-’ and ‘-(eu)l geosi-’ and whether there is any difference in their understanding and usage of these two expressions according to the level of their language proficiency. ‘-gess-’ and ‘-(eu)l geosi-’ seem to have many similarities in term of meaning, however, they actually possess different semantic functions depending on the linguistic context, which can cause difficulties in acquisition and usage to learners of Korean. ChapterⅠ presents the purpose and the necessity of the study and examines prior studies related to the comparative analysis between ‘-gess-’ and ‘-(eu)l geosi-’ and similar expressions in other languages, and the acquisition of ‘-gess-’ and ‘-(eu)l geosi-’ of learners of Korean. This chapter also introduces the study’s research question which is whether there is any difference on the knowledge and usage of ‘-gess-’ and ‘-(eu)l geosi-’ in Thai learners of Korean depending on their language proficiency. Chapter Ⅱ, as the theoretical background of this study, inspects the semantic and syntactic characteristics of ‘-gess-’ and ‘-(eu)l geosi-’. Accordingly, the study defines the semantic functions of ‘-gess-’ as ‘intention’ and ‘conjecture’ and the functions of ‘-(eu)l geosi-’ as ‘future’ and ‘conjecture’. This chapter also compares ‘-gess-’ and ‘-(eu)l geosi-’ with the corresponding auxiliary verbs in Thai language. Chapter Ⅲ explains the research methodology of this study. An acceptability judgment task and a semi-production task, which contain items reflecting semantic functions and characteristics of ‘-gess-’ and ‘-(eu)l geosi-’, were developed. The experiment was conducted with 30 native Korean speakers and 60 Thai learners of Korean who have studied Korean for more than 6 months in Thai universities. Thai learners of Korean were also divided into high and low group according to their language proficiency. Chapter Ⅳ describes the results of comparing the average scores for the acceptability judgment task and the semi-production task between Korean native speakers and the high and low proficiency groups of Thai learners. The results are divided into the research participants’ knowledge about ‘-gess-’, usage of ‘-gess-’, knowledge about ‘-(eu)l geosi-’ and usage of ‘-(eu)l geosi-’. Firstly, for the knowledge about ‘-gess-’, Thai learners could not reach the level of native speakers and there was no statistical difference between the high and low proficiency group. Also, the results revealed that there was no proficiency factor among the learners in both ‘intention’ and ‘conjecture’ functions. Secondly, for the overall usage of ‘-gess-’, there was a statistically significant difference between native speakers and Thai learners. However, the results vary according to semantic functions of ‘-gess-’. As for ‘intention’, there was a difference in the usage between native speakers and learners but there was no proficiency factor in the usage. However, as for ‘conjecture’, the high proficiency group of learners could reach the level of native speakers but there was no statistical difference between the high and low proficiency group. This implies that some high proficiency learners are in the process of improvement to reach the level of native speakers and some still cannot acquire the skill. Thirdly, for the knowledge about ‘-(eu)l geosi-’, Thai learners could not reach to the level of native speakers, and there was a significant difference among learners groups. The language proficiency of the Thai learners is also a factor in both the ‘future’ and ‘conjecture’ semantic functions. Lastly, for the usage of ‘-(eu)l geosi-’, there was a significant difference between native speakers and learner groups but there was no statistically significant difference among learners even with their higher proficiency. Also, in both ‘future’ and ‘conjecture’ functions, there was no proficiency factor. Therefore, it was revealed that Thai learners of Korean have acquired only some semantic function of ‘-gess-’ and ‘-(eu)l geosi-’. Also, the different results of the two kinds of tasks have proved that there is no relation between learners’ knowledge about ‘-gess-’ and ‘-(eu)l geosi-’ and their skill at utilizing these two expressions. Chapter Ⅴ gives the conclusion of the results of this study. As the first study revealing the acquisition of ‘-gess-’ and ‘-(eu)l geosi-’ of Thai learners of Korean, the significance of this study has been proved. Further studies on syntactic conditions of ‘-gess-’ and ‘-(eu)l geosi-’ in advanced Thai learners of Korean, which was not included in this study, are also expected to be carried out.
Fulltext
Show the fulltext
Appears in Collections:
국제대학원 > 한국학과 > Theses_Master
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Export
RIS (EndNote)
XLS (Excel)
XML


qrcode

BROWSE